วันอังคารที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2559





Diary No.12

Inclusive Education Experiences Management for Early Childhood

 wednesday, 26 May, 2559 Time 08.30 - 12.30




โปรแกรมการศึกษาเฉพาะบุคคล (Individualized Education Program)
แผน IEP
•แผนการศึกษาที่ร่างขึ้น
•เพื่อให้เด็กพิเศษแต่ละคนได้รับการสอน และการช่วยเหลือฟื้นฟูให้เหมาะสมกับความต้องการและความ
สามารถของเขา
•ด้วยการจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของเด็ก

•โดยระบุเวลาเริ่มต้นและสิ้นสุดการใช้แผนและวิธีการวัดประเมินผลเด็ก
การเขียนแผน IEP
คัดแยกเด็กพิเศษ
ครูต้องรู้ว่าเด็กมีปัญหาอะไร
ประเมินพัฒนาการเด็กเป็นระยะ จะทำให้ทราบว่าจะต้องเริ่มช่วยเหลือเด็กจากจุดไหน ในทักษะใด 
เด็กสามารถทำอะไรได้  เด็กไม่สามารถทำอะไรได้
แล้วจึงเริ่มเขียนแผน IEP
IEP ประกอบด้วย
ข้อมูลส่วนตัวของเด็ก
ระบุว่าเด็กมีความจำเป็นต้องได้รับบริการพิเศษอะไรบ้าง
การระบุความสามารถของเด็กในขณะปัจจุบัน
เป้าหมายระยะยาวประจำปี / ระยะสั้นระบุวัน เดือน ปี ที่เริ่มทำการสอน และคาดคะเนการสิ้นสุดของ
แผน
วิธีการประเมินผล
ประโยชน์ต่อเด็ก
ได้เรียนรู้ตามความสามารถของตน
ได้มีโอกาสพัฒนาตามศักยภาพของตน
ได้รับการศึกษาและฟื้นฟูอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม
ถ้าเด็กเข้าเรียนในโรงเรียนจะไม่ถูกจัดเข้าชั้นเรียนเฉยๆ
ประโยชน์ต่อครู
เป็นแนวทางการจัดการเรียนการสอนที่ตรงกับความสามารถและความต้องการของเด็ก
เป็นแนวทางในการเลือกสื่อการสอนและวิธีการสอนให้เหมาะกับเด็ก
ปรับเปลี่ยนได้เมื่อความต้องการเปลี่ยนแปลงไป
เป็นแนวทางในการประเมินผลการเรียนและการเขียนรายงานพัฒนาการความก้าวหน้าของเด็ก
ตรวจสอบและประเมินได้เป็นระยะ
ประโยชน์ต่อผู้ปกครอง
ได้มีส่วนร่วมในการจัดทำแผนการเรียนรายบุคคล เพื่อให้เด็กได้พัฒนาความสามารถได้สูงสุดตามศักยภาพ
ทราบร่วมกับครูว่าจะฝึกลูกของตนอย่างไร
เกิดความร่วมมือในการพัฒนาเด็ก มีการติดต่อสื่อสารกันอย่างต่อเนื่องและใกล้ชิดระหว่างบ้านกับโรงเรียน
ขั้นตอนการจัดทำแผนการศึกษารายบุคคล
1. การรวบรวมข้อมูล
รายงานทางการแพทย์
รายงานการประเมินด้านต่างๆ
บันทึกจากผู้ปกครอง ครู และผู้ที่เกี่ยวข้อง
2. การจัดทำแผน
ประชุมผู้ที่เกี่ยวข้อง
กำหนดจุดมุ่งหมายระยะยาวและระยะสั้น
กำหนดโปรแกรมและกิจกรรม
จะต้องได้รับการรับรองแผนการศึกษาเฉพาะบุคคลจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
การกำหนดจุดมุ่งหมาย
ระยะยาว
ระยะสั้น
จุดมุ่งหมายระยะยาว
กำหนดให้ชัดเจน แม้จะกว้าง
น้องนุ่นช่วยเหลือตนเองได้
น้องดาวร่วมมือกับผู้อื่นได้ดีขึ้น
น้องริวเข้ากับเพื่อนคนอื่นๆได้
จุดมุ่งหมายระยะสั้น
ตั้งให้อยู่ภายใต้จุดมุ่งหมายหลัก
เป็นพฤติกรรมที่เด็กสามารถทำได้ในระยะ 2-3 วัน หรือ 2-3 สัปดาห์
จะสอนใคร
พฤติกรรมอะไร
เมื่อไหร่ ที่ไหน (ที่พฤติกรรมนั้นจะเกิด)
พฤติกรรมนั้นต้องดีขนาดไหน
ตัวอย่าง
ใคร  มุก
อะไร  กระโดดขาเดียวได้ 
เมื่อไหร่ ที่ไหน  กิจกรรมกลางแจ้ง
ดีขนาดไหน  กระโดดได้ขาละ 5 ครั้ง ในเวลา 30 วินาที

ใคร  บอย
อะไร  นั่งเงียบๆโดยไม่พูดคุย 
เมื่อไหร่ ที่ไหน  ระหว่างครูเล่านิทาน
ดีขนาดไหน  ช่วงเวลาการเล่านิทาน 10 - 15 นาที เป็นเวลา 5 วันติดต่อกัน

3. การใช้แผน
เมื่อแผนเสร็จสมบูรณ์ ครูจะนำไปใช้โดยจะใช้แผนระยะสั้น
นำมาทำเป็นจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
แยกย่อยขั้นตอนการสอนให้เหมาะกับเด็ก
จัดเตรียมสื่อและจัดกิจกรรมการเรียนการสอ
ต้องมีการสังเกตเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเด็กและความสามารถ โดยคำนึงถึง
1.ขั้นตอนพัฒนาการของเด็กปกติ
2.ตัวชี้วัดพื้นฐานที่เกี่ยวกับปัญหาของพัฒนาการเด็ก
3.อิทธิพลของสิ่งแวดล้อมของเด็กและผู้ใหญ่ที่มีผลต่อการแสดงออกของเด็ก
4. การประเมินผล
โดยทั่วไปจะประเมินภาคเรียนละครั้ง หรือย่อยกว่านั้น
ควรมีการกำหนดวิธีการประเมิน และเกณฑ์วัดผล
** การประเมินในแต่ละทักษะหรือแต่ละกิจกรรม  อาจใช้วิธีวัดและกำหนดเกณฑ์แตกต่างกัน**

การจัดทำ IEP

















ทำกิจกรรมวาดวงกลมบอกตัวเองและนำวงกลมของแต่ละคนมาทำเป็นต้นไม้



ความรู้ที่ได้รับ
  • ได้รู้การวิธีการเขียนแผน IEP 
ประเมินเพื่อนร่วมห้อง
  • เพื่อนตั้งใจเรียนดีมาก 
ประเมินอาจารย์
คุณครูสอนเข้าใจ 
Diary No.11

Inclusive Education Experiences Management for Early Childhood
 wednesday, 20 Apilr , 2559 Time 08.30 - 12.30


การส่งเสริมพัฒนาการและการปรับพฤติกรรมเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ 



                   เพื่อให้เด็กสามารถช่วยเหลือตนเองได้ในชีวิตประจำวัน
                    
                   ใช้ชีวิตอยู่ในสังคมได้ใกล้เคียงกับคนปกติมากที่สุด 
               เน้นการดูแลแบบองค์รวม (Holistic Approach)
1.                                      การฟื้นฟูสมรรถภาพทางการศึกษา
2.การฟื้นฟูสมรรถภาพทางสังคม
3. การบำบัดทางเลือก
การสื่อความหมายทดแทน
(Augmentative and Alternative Communication ; AAC)
                   การรับรู้ผ่านการมอง (Visual Strategies)
                   โปรแกรมแลกเปลี่ยนภาพเพื่อการสื่อสาร (Picture Exchange Communication System; PECS)
                   เครื่องโอภา (Communication Devices)
โปรแกรมปราศรัย
บทบาทของครู
                   ตำแหน่งการนั่งของเด็กไม่ควรให้นั่งติดหน้าต่างหรือประตู
                   ให้เด็กนั่งแถวหน้าสุดใกล้โต๊ะครู
                   จัดให้เด็กนั่งติดกับนักเรียนที่ไม่ค่อยเล่น ไม่ค่อยคุยในระหว่างเรียน
                   ให้เด็กมีกิจกรรม เปลี่ยนอิริยาบถบ้าง
การส่งเสริมทักษะต่างๆของเด็กพิเศษ
1.   ทักษะทางสังคม
2.   ทักษะภาษา
3.    ทักษะการช่วยเหลือตนเอง
4.   ทักษะพื้นฐานทางการเรียน

การวางแผนการเตรียมพื้นฐานทางวิชาการ
                   จัดกลุ่มเด็ก
                   เริ่มต้นเรียนรู้โดยใช้ช่วงเวลาสั้นๆ
                   ให้งานเด็กแต่ละคนอย่างชัดเจนว่าต้องทำที่ไหน
                   ติดชื่อเด็กตามที่นั่ง
                   ใช้อุปกรณ์ที่เด็กคุ้นเคย
                   ใช้อุปกรณ์ที่เด็กคุ้นเคย
                   บันทึกว่าเด็กชอบอะไรที่สุด
                   รู้ว่าเมื่อไหร่จะเปลี่ยนงาน
                   มีอุปกรณ์ไว้สับเปลี่ยนใกล้มือ
                   เตรียมทุกอย่างให้พร้อมก่อนเด็กมาถึง

Adoption( การนำไปใช้)
ประยุกต์ใช้ในการสอนเด็กพิเศษว่ามีเเนวทางการให้ความรู้อย่างไรในวิธีการสอนเด็ก

classroom atmosphere (บรรยากาศในห้องเรียน)

อากาศค่อนข้างเย็น เพื่อนคุยบ้างเล็กน้อย เพื่อนให้ความร่วมมือในการทำฟังคำบรรยาย

Self-Assessment (ประเมินตนเอง)
แต่งตัวเรียบร้อย มาไม่สาย

friend-Assessment (ประเมินเพื่อน)
มีกิจกรรมที่น่าสนใจ และคอยช่วยหลือเรื่องอุปกรณ์กับนักศึกษา เป็นผู้อำนวยการเรียนรู้อย่างดี

Teacher-Assessment (ประเมินครู)

เเต่งกายสุภาพสอนเข้าใจ




Diary No.10 
Inclusive Education Experiences Management for Early Childhood
 wednesday, 30 March , 2559 Time 08.30 - 12.30

การจัดประสบการณ์
การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย
รูปแบบการจัดการศึกษา
                   การศึกษาปกติทั่วไป (Regular Education)
                   การศึกษาพิเศษ (Special Education)
                   การศึกษาแบบเรียนร่วม  (Integrated Education หรือ Mainstreaming)
                   การศึกษาแบบเรียนรวม  (Inclusive Education)
การจัดการศึกษาสำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
                   เด็กที่มีความต้องการพิเศษทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาได้ถ้าได้รับโอกาสในการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับความต้องการพิเศษของเขา
                   ความหมการจัดให้เด็กพิเศษเข้าไปในระบบการศึกษาทั่วไป
                   มีกิจกรรมที่ให้เด็กพิเศษกับเด็กทั่วไปได้ทำร่วมกัน
                   ใช้ช่วงเวลาช่วงใดช่วงหนึ่งในแต่ละวัน
                   ครูปฐมวัยและครูการศึกษาพิเศษร่วมมือกัายของการศึกษาแบบเรียนร่วม
การเรียนร่วมเต็มเวลา (Mainstreaming)
                   การจัดให้เด็กพิเศษเรียนในโรงเรียนปกติตลอดเวลาที่เด็กอยู่ในโรงเรียน
                   เด็กพิเศษได้รับการจัดกระบวนการเรียนรู้และบริการนอกห้องเรียนเหมือนเด็กปกติ
                   ความหมายของการศึกษาแบบเรียนรวม
(
Iการศึกษาสำหรับทุกคน
                   รับเด็กเข้ามาเรียนรวมกันตั้งแต่เริ่มเข้ารับการศึกษา
                   จัดให้มีบริการพิเศษตามความต้องการของแต่ละบุคคล
nclusive Education)
                   กิจกรรมทุกชนิดที่จะนำไปสู่การสอนที่ดี (Good Teaching) ต้องคิดอย่างรอบคอบเพื่อหาหนทางให้นักเรียนทุกคนสามารถเรียนได้
                   เป็นการกำหนดทางเลือกหลายๆ ทาง
สรุปความหมายของการศึกษาแบบเรียนรวม
                   เป็นการจัดการศึกษาที่จัดให้เด็กพิเศษเข้ามาเรียนรวมกับเด็กปกติ โดยรับเข้ามาเรียนรวมกัน ตั้งแต่เริ่มเข้ารับการศึกษาและจัดให้มีบริการพิเศษตามความต้องการของแต่ละบุคคล
                   เด็กพิเศษทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาได้ถ้าได้รับโอกาสในการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับความต้องการพิเศษของเขา
ความสำคัญของการศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย
                   ปฐมวัยเป็นช่วงเวลาสำคัญที่สุดของการเรียนรู้สอนได้
                   เป็นการจัดการศึกษาสำหรับเด็กพิเศษที่มีขีดจำกัดน้อยที่สุด
บทบาทครูปฐมวัยในห้องเรียนรวม
ครูไม่ควรวินิจฉัย
ครูไม่ควรตั้งชื่อหรือระบุประเภทเด็ก
ครูไม่ควรบอกพ่อแม่ว่าเด็กมีบางอย่างผิดปกติ
การบันทึกการสังเกต
การตัดสินใจ

Adoption( การนำไปใช้)
ประยุกต์ใช้ในการสอนเด็กพิเศษว่ามีเเนวทางการให้ความรู้อย่างไรในวิธีการสอนเด็ก

classroom atmosphere (บรรยากาศในห้องเรียน)

อากาศค่อนข้างเย็น เพื่อนคุยบ้างเล็กน้อย เพื่อนให้ความร่วมมือในการทำฟังคำบรรยาย

Self-Assessment (ประเมินตนเอง)
แต่งตัวเรียบร้อย มาไม่สาย

friend-Assessment (ประเมินเพื่อน)
มีกิจกรรมที่น่าสนใจ และคอยช่วยหลือเรื่องอุปกรณ์กับนักศึกษา เป็นผู้อำนวยการเรียนรู้อย่างดี

Teacher-Assessment (ประเมินครู)

เเต่งกายสุภาพสอนเข้าใจ